บทความ

หน้าแรก บทความ

สามสัญญานแห่งวันสิ้นโลกที่ได้อุบัติขึ้นแล้วที่เมืองเมกกะฮ์

วันกียามะฮ์(วันสิ้นโลก) ถือเป็นรูก่นหนึ่ง(หลักศรัทธา)ข้อห้าของหลักความเชื่อของชาวมุสลิมที่จะต้องเกิดขึ้นอย่างแน่นอนในอนคต แต่ไม่มีแม้สักคนเดียวที่สามารถล่วงรู้ได้เกี่ยวกับวันเวลาสุดท้ายของสิ่งมีชีวิตในโลกใบนี้ที่อาจเกิดขึ้น

“12 ปีตากใบ” โศกนาฏกรรมและบาดแผลใหม่แห่งประวัติศาสตร์ชายแดนใต้?

กว่าสิบสองปีที่เหตุการณ์ความรุนแรงในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ยังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ที่เริ่มขึ้นนับตั้งแต่ปี 2547 จวบกระทั่งปัจจุบัน อย่างไรก็ตามความรุนแรงที่เกิดขึ้นในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้นำมาซึ่งผลกระทบให้กับวิถีชีวิตของคนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้และบางอำเภอในจังหวัดสงขลาอย่างหลีกเลี่ยงมิได้ ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรืออ้อม

107 ปี สนธิสัญญาแองโกลสยาม ภายใต้ 6 ข้อตกลงในอาณาเขตเหนือดินแดน

10 มีนาคม 2016 ครบรอบ 107 ปี วันลงนามสนธิสัญญากรุงเทพหรือสนธิสัญญาแองโกลสยาม 1909 (Anglo-Siamese treaty 1909) ที่มีการลงนามในวันที่ 10 มีนาคม 1909

‘บางปู-อ่าวปัตตานี’ ลอดอุโมงค์โกงกาง บนเส้นทางป่าชายเลนสุดสมบูรณ์

“ตำนานบางปู สืบรู้โกงกาง กระยางงามถิ่น ดินแดนอนุรักษ์”

ย้อนอดีต…การล่มสลายของราชวงศ์สุลต่านมลายูในอินโดนีเซีย

เราคงลืมไปแล้วฤา? เมื่อปี 1946 บรรดากษัตริย์แห่งเมืองมลายูบนเกาะสุมาตราตะวันออกถูกปลงพระชนม์พร้อมกับเหล่าวงศาคณาญาตินับพันคนอย่างโหดเหี้ยม

ประติมากรรม “มัสยิด” กับอิทธิพลแห่งศิลปกรรมท้องถิ่นและพลวัตรทางสังคม

เมื่อกล่าวถึง “มัสยิด” เรามักจะนึกถึงความงดงามของศาสนสถานของชาวมุสลิมที่เป็นรูปแบบอย่างที่ปรากฏเห็นโดยทั่วไป ไม่ว่ามัสยิดแห่งนั้นจะอยู่ ณ ที่ใด ล้วนจะมีเอกลักษณ์เฉพาะที่บ่งบอกถึงความเป็นอิสลาม แต่โดยทั่วไปแล้วสิ่งที่ขาดมิได้สำหรับรูปโฉมของมัสยิดก็คือ การออกแบบในลักษณะที่มีโดมเป็นเอกลักษณ์เฉพาะสำหรับศาสนสถานของอิสลาม ที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปกรรมอิสลามในอดีต ที่มีโดมเป็นจุดเด่นดูตระหง่าน ซึ่งปรกติจะมีการก่อสร้าง ณ จุดกึ่งกลางของอาคารมัสยิด โดยต่อมากลายเป็นประติมากรรมแห่งอิสลาม ที่ได้กระจายเผยแพร่ออกไปอย่างกว้างขวางไปทั่วทุกหนแห่งที่อิสลามเข้าไปถึง

บทพิสูจน์ “มาราปาตานี” หลังเหตุระเบิดตลาดโต้รุ่ง แค่ “นายหน้า” ค้าสันติภาพ ที่ไร้ศักยภาพ??

ทว่าจนเมื่อเกิดเหตุระเบิดหน้าตลาดโต้รุ่ง เมื่อวันจันทร์ ที่ 24 ตุลาคมที่ผ่านมา ทุกอย่างก็เป็นข้อพิสูจน์ กระจ่างชัดว่า “มาราปาตานี” ก็เป็นแค่ “นายหน้า” ค้าสันติภาพ ที่ไร้ศักยภาพ!!

บทความ – ความเหลื่อมล้ำทางชาติพันธ์กำลังแพร่ขยาย และเป็นอุปสรรคต่อเศรษฐกิจโลก!

ความเหลื่อมล้ำทางเชื้อชาติ - ข้อเสียเปรียบทางการเมืองและเศรษฐกิจ ที่มักรู้สึกโดยชนกลุ่มน้อยยังคงมีให้เห็นอยู่ทั่วโลก การเลือกปฏิบัติ ไม่เพียงแต่ไม่เป็นธรรมต่อชนกลุ่มหนึ่งกลุ่มใดเท่านั้น แต่มันยังเป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจของโลกอีกด้วย และมันก็เป็นปัญหาที่แทบจะไม่มีวันเรือนลางจางหายไปเอง ความเหลื่อมล้ำ มีผลกระทบต่อสองกลุ่มหลักจากประชากรของชนกลุ่มน้อย กลุ่มที่หนึ่ง คือ ชุมชนที่ตั้งรกรากระยะยาว โดยส่วนใหญ่ มีมาก่อนการกำหนดขอบเขตของรัฐ และ/หรือประเทศต่างๆมานานหลายศตวรรษ ซึ่งเป็นกลุ่มที่พบได้บ่อยในทวีปเอเชีย และแอฟริกา หนึ่งในตัวอย่างของชนจากลุ่มนี้ คือ Dalits (ชาวดาลิด) หรือคนในวรรณะจัณฑาล  ตามระบบแบ่งวรรณะของวัฒนธรรมฮินดู ในประเทศอินเดีย -...

สังคมไทยเป็นสังคมฟาสซิสต์หรือไม่?

“ในความคิดแบบฟาสซิสต์ การเป็นคนเยอรมัน คนอิตาลี หรือคนฝรั่งเศส 
มีความหมายมากกว่าแค่การอาศัยอยู่ในพื้นที่ภูมิศาสตร์เดียวกัน แต่มันยังหมายถึงอะไรบางอย่าง
ที่คนภายนอกไม่มีวันจะเข้าใจ เช่น อัตลักษณ์พื้นฐาน, อารมณ์ ความรู้สึก, บรรดาสิ่งที่อยู่เหนือเหตุผล 
นิยามตัวตนของคนชาติในลักษณะข้างต้น คือ นิยามในแบบฟาสซิสต์” ช่วงระหว่างการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 จนถึงการเกิดสงครามโลกที่ 2 (interwar period) ยุโรปได้เผชิญกับประสบการณ์ทางสังคมการเมืองสำคัญประการหนึ่ง นั่นคือ การเปลี่ยนผ่านของหลายสังคมไปเป็นสังคมฟาสซิสต์และสังคมอำนาจนิยม กับในอีกหลายสังคมที่แม้จะไม่เปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นฟาสซิสต์หรืออำนาจนิยม ทั้งองคาพยพ...

วิถีมุสลิม : อิสลามกับวัฒนธรมมลายู

บทความโดย อุสตาซอับดุชชะกูร์ บินชาฟิอีย์ ดินอะ (อับดุลสุโก ดินอะ)

เรื่องล่าสุด