แรงบันดาลใจ

หน้าแรก ศิลปะและวัฒนธรรม แรงบันดาลใจ

สำนักข่าวอามาน จัดงานวันสื่อสันติภาพ คนทำงานด้านสื่อร่วมคับคั่ง ต้องมีการสานต่อทุกๆ ปี

เมื่อไม่กี่วันมานี้ มีการจัดกิจกรรม Peace 4 + สื่อสันติภาพชายแดนใต้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการเสริมความรู้วารสารศาสตร์สันติภาพ เสริมบทบาทสื่อมวลชนสร้างสันติสุขชายแดนใต้/ปาตานี โดยสำนักข่าวอามาน (Aman News agency) ได้รับการสนับสนุนจากศูนย์ความร่วมมือทรัพยากรสันติภาพ หรือ Peace Resource Collaborative (PRC) สหภาพยุโรป (EU) สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงการณ์มหาวิทยาลัย...

เก็บตกสัมนา 3 จชต. สิทธิเขา- สิทธิเรา “โลกตระหนักสิทธิมนุษยชน แต่คนมีอำนาจคิดอีกแบบ”

ประเด็นสิทธิมนุษยชน นับเป็นประเด็นสำคัญ สำหรับประเทศไทยมาแต่ไหนแต่ไร โดยเฉพาะในบริบทความขัดแย้งในพื้นที่ชายแดนใต้เมื่อ ในระยะช่วงหลังๆมานี้ ค่อนข้างจะได้รับความสนใจมากขึ้นไม่เพียงแต่คนในพื้นที่เท่านั้น แต่หมายรวมไปถึงองค์กรต่างประเทศด้วยเช่นกัน คณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฎอนี ได้จัดกิจกรรมเวทีสัมมนา ทางกฎหมาย ว่าด้วยเรื่อง สิทธิมนุษยชน ภายใต้หัวข้อ “สิทธิเขา สิทธิเรา ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้” ซึ่งมีวิทยากร ดร.พิมพ์รภัช ดุษฎีอิสริยกุล ผู้จัดการโครงการ มูลนิธิฟรีดรีช เนามัน ดร.ฆอซาลี เบ็ญหมัด คณบดีคณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร์ นายแพทย์อนันต์ไชย ไทยประทาน รองประธานสภาเครือข่ายช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม สำนักจุฬาราชมนตรี สะท้อนมุมมองในประเด็นดังกล่าวไว้อย่างน่าสนใจ

ปีใหม่ ภาพจำใหม่ คุยกับบาบอมาเซาะเมืองนครศรีฯ “ปอเนาะ” ไม่ได้คิด แบ่งแยกดินแดน

ปีใหม่ 2563 หากจะอยากเห็นอะไรใหม่ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้บ้าง หนึ่งในนั้นคงเป็นเรื่อง “ภาพจำใหม่ๆ” ที่เกิดจากอคติของคนในสังคมไทย จนส่งผลกระทบต่อการอยู่ร่วมกันและการแก้ปัญหาภาคใต้ นับตั้งแต่เกิดเหตุการณ์ความรุนแรง เมื่อปี 2547 เป็นต้นมา ที่มีภาพจำมากมายของคนในสังคมไทยที่สร้างอคติต่อคนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ หนึ่งในนั้น คือ ภาพจำ “สถาบันปอเนาะ” ภาพจำที่มองว่าเป็นแหล่งบ่มเพาะมุสลิมหัวรุนแรง แหล่งบ่มเพาะกลุ่มแบ่งแยกดินแดน และหลายๆ ครั้ง การจับกุม การก่อเหตุต่างๆ บนหน้าสื่อ ก็มักมีข่าวสร้างความเชื่อมโยงกับบุคคล และสถาบันปอเนาะ จนทำให้สายตาในการมอง สถาบันปอเนาะ ในมุมมองของเจ้าหน้าที่ทหาร และคนที่ไม่ใช่มุสลิม เป็นเหมือนดั่งพื้นที่สีเทา

ม.อ.ปัตตานี รับน้องพาเดินท่องเมือง ซึมซับ พหุวัฒนธรรม

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จัดกิจกรรมรับน้องใหม่อย่างสร้างสรรค์ พานักศึกษา 1,500 คน จากท้องถิ่นต่างๆ ทั่วประเทศ เดิน 7 กม.ให้รู้จัก ซึมซับบรรยากาศของปัตตานี เมืองแห่งพหุวัฒนธรรม

ชีวิต-ความคิด จากปอเนาะสู่ “พหุวัฒนธรรม” “ดร.สุรินทร์” คนของโลก

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ อดีตเลขาธิการอาเซียน คนที่ 12 ทิ้งไว้เพียงคุณงาม ความดี และประโยชน์ที่ทำไว้ให้กับประชาชน-ประชาคมโลก ซึ่งบทบาทอันโดดเด่นของ “ดร.สุรินทร์” บนเวทีอาเซียน-ประชาคมโลก เกิดจากการหลอมรวม-เรียนรู้จาก “ชีวิตจริง” จากสังคมพหุวัฒนธรรม

‘Terry Fox’ เด็กหนุ่มที่ออกวิ่งกว่า 5,000 กิโลเมตรด้วยขาข้างเดียว เพื่อขอระดมทุนให้ผู้ป่วยโรคมะเร็ง

“อย่ายอมแพ้ คุณทำได้” คำพูดสั้นๆ แต่เปี่ยมไปด้วยพลังนี้ นอกจากจะทำให้พวกเรามีกำลังใจในการทำสิ่งต่างๆ แล้ว คำพูดเดียวกันนี้ยังเป็นแรงกระตุ้นให้เด็กหนุ่มวัย 19 ปีมีแรงในการออกวิ่งเพื่อระดมทุนช่วยเหลือผู้ป่วยโรคมะเร็งอีกด้วย Terry Fox เด็กหนุ่มเด็กหนุ่มที่ออกวิ่งด้วยขาซ้ายเพียงข้างเดียว เพื่อระดมทุนช่วยผู้ป่วยโรคมะเร็งเป็นระยะเวลาติดต่อกันนานถึง 143 วันในระยะทางรวมกว่า 5,373 กิโลเมตร

เจ้าหนูวัย 9 ขวบปลูกผักกะหล่ำปลีเพื่อให้คนยากจนได้กิน จนตอนนี้เธอมีสวนของตัวเองอยู่ทั่วประเทศ!

เราสามารถเรียกสาวน้อยคนนี้ว่า เทพธิดาแห่งพืชผัก ด้วยความกระตือรือร้นบวกกับทักษะ เธอสามารถปลูกผักที่มีไซส์ยักษ์ได้มากมายเพื่อให้แก่ผู้ยากไร้ในท้องถิ่น และมีสวนผักสวัสดิการสาธารณะทั่วทั้งประเทศกว่า100แห่ง ทำให้ทุกคนต่างพากันอึ้งกับเมล็ดพันธุ์ที่เจริญงอกงามเป็นผลไม้ที่มีประโยชน์ได้ Katie Stagliano อาศัยอยู่ที่ชาร์ลสตัน รัฐเซาท์แคโรไลนา เธอเริ่มปลูกครั้งแรกเมื่ออายุ 9ขวบ ในชั้นวิชาเกษตรกรรมของโรงเรียน ซึ่งเธอได้นำเมล็ดพันธุ์จากโรงเรียนกลับบ้านมาด้วย โดยเธอได้ปลูกผักกะหล่ำปลียักษ์ขึ้นที่หลังบ้าน โดยมีน้ำหนักถึง 40ปอนด์ หรือประมาณ 18 กิโลกรัม Katie จึงได้คิดขึ้นว่า เจ้าหัวกะหล่ำอันนี้สามารถเคี่ยวเป็นน้ำซุปแสนอร่อยขึ้นมาได้สักหม้อ เพื่อสร้างความสุขให้แก่ผู้ที่ยากไร้ได้ ครอบครัวของเธอจึงได้นำหัวกำหล่ำปียักษ์นี้ไปที่ครัวของสถานสวัสดิการสาธารณะ เพื่อทำเป็นซุปผักใส่แฮม สำหรับทานกับข้าวสวยร้อนๆ...

เดินหน้าประเทศไทย – การพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ภายใต้ศาสตร์พระราชา (คลิป)

เดินหน้าประเทศไทย : การพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ภายใต้ศาสตร์พระราชา

ม.3 ยอดกตัญญู สู้ชีวิต รับจ้างแบกมันวันละพันกิโลฯ ไม่คิดท้อแท้กับชีวิต ไม่อยากที่ยากจน !

เปิดชีวิตน้องแหลม เด็กชายวัย 14 สู้ชีวิต เลี้ยงดูครอบครัว 9 คน รับจ้างแบกหัวมันสำปะหลังวันละ 1,000 กิโลกรัม ความหวัง..อยากสร้างบ้านใหม่ให้พ่อ-แม่ได้อยู่สบาย

2 นร.เห็น “คุณครู” ท่านนี้สอนตั้งแต่หนุ่มยันเกษียณ ตัดสินใจทำสิ่งนี้ตอบแทน ครูรู้ถึงกับกลั้นน้ำตาไม่อยู่!

เมื่อไม่นานมานี้เว็บไซต์ต่างประเทศได้นำเสนอเรื่องราวอันน่าประทับใจนี้เกิดขึ้นกับคุณครู "Walter Erickson" อาจารย์ผู้ทุ่มเทให้กับการสอนอย่างเต็มเวลา และผันตัวมาเป็นอาจารย์ช่วยสอนหลังจากเกษียณอายุเป็นเวลามานานกว่า 25 ปี

เรื่องล่าสุด