สร้างสรรค์

หน้าแรก ศิลปะและวัฒนธรรม สร้างสรรค์

“ฟาตีลาและอารียา” หุ่น CPR ช่วยชีวิตผู้หญิงและตรวจมะเร็งเต้านมสองตัวแรกของโลก

นักวิชาการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี(ม.อ.ปัตตานี) บูรณาการองค์ความรู้ศาสตร์และศิลป์ผลิตหุ่นช่วยชีวิต หรือ CPR ผู้หญิงและตรวจมะเร็งเต้านมตัวแรกของโลกในชื่อ “ฟาตีลาและอารียา” นวัตกรรมจากยางพาราเพื่อเป็นอุปกรณ์ฝึกปฏิบัติต้นแบบช่วยชีวิตและเรียนรู้การช่วยชีวิตผู้หญิง

เทคนิคง่ายๆ ในการเพิ่มพลังความจำ

คุณมักจะวางกุญแจผิดที่หรือลืมว่าจอดรถไว้ที่ไหนอยู่บ่อยๆหรือเปล่า? คุณออกจากร้านขายของชำและลืมซื้อของที่จำเป็นหรือชอบลืมว่ากำลังจะพูดอะไรบ้างไหม? การใช้ชีวิตของคุณมีบทบาทสำคัญต่อความรวดเร็วในการคิด ดังนั้นเป็นไปได้ว่าอาการขี้หลงขี้ลืมอาจเป็นผลโดยตรงที่มาจากพฤติกรรมในชีวิตประจำวันของคุณ

ม.อ.ปัตตานี เลือกใช้ SEV รถกอล์ฟไฟฟ้า เพื่อใช้สำหรับกิจจการภายใน

ผศ.นพพร เหรียญทอง รองอธิการบดี ฝ่ายระบบสารสนเทศและกายภาพ (ที่ 3 จากขวา) และ ผศ.ดร.นภดล ทิพยรัตน์ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (ที่ 2 จากขวา) เลือกรถกอล์ฟไฟฟ้า SEV 14 ที่นั่ง จำนวน 3 คัน สำหรับใช้ในกิจการภายในมหาวิทยาลัย

Hand of Life อาสาช่วยคืนชีพกว่า 200 คนในเมืองปัตตานี

เปิดตัวโครงการ Hand of Life การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน เครือข่ายประชาชนเขตเมือง จังหวัดปัตตานี อบรมอาสาสมัครมากว่า 200 คน พร้อมย้ำจะให้ทุกคนในเขตเมืองปัตตานีรู้จักการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานเพื่อช่วยเหลือผู้คนในสังคม

นิเทศฯ มรภ.สงขลา ตีแผ่เรื่องจริงชายแดนใต้ คว้ารางวัลชนะเลิศ ‘ส่งเสริมสิทธิมนุษยชน’

ดร.ศุภฤกษ์ เวศยาสิรินทร์ อาจารย์ประจำโปรแกรมวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า นักศึกษาโปรแกรมวิชานิเทศศาสตร์ ได้ส่งผลงานด้านการสร้างภาพยนตร์เรื่องสั้นเข้าประกวด ในโครงการสื่อศิลป์ปี 5 ตอน “Human Rights : แลต๊ะแลใต้” ที่จัดโดยองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (สสท.) ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) เพื่อเปิดพื้นที่ให้เยาวชนรุ่นใหม่ได้ใช้กระบวนการสร้างสรรค์สื่อเป็นเครื่องมือสร้างการเรียนรู้ผ่านภาพยนตร์สั้น ที่สามารถนำไปใช้รณรงค์เกี่ยวกับประเด็นสิทธิมนุษยชนในพื้นที่ภาคใต้

เจ้าหนูวัย 9 ขวบปลูกผักกะหล่ำปลีเพื่อให้คนยากจนได้กิน จนตอนนี้เธอมีสวนของตัวเองอยู่ทั่วประเทศ!

เราสามารถเรียกสาวน้อยคนนี้ว่า เทพธิดาแห่งพืชผัก ด้วยความกระตือรือร้นบวกกับทักษะ เธอสามารถปลูกผักที่มีไซส์ยักษ์ได้มากมายเพื่อให้แก่ผู้ยากไร้ในท้องถิ่น และมีสวนผักสวัสดิการสาธารณะทั่วทั้งประเทศกว่า100แห่ง ทำให้ทุกคนต่างพากันอึ้งกับเมล็ดพันธุ์ที่เจริญงอกงามเป็นผลไม้ที่มีประโยชน์ได้ Katie Stagliano อาศัยอยู่ที่ชาร์ลสตัน รัฐเซาท์แคโรไลนา เธอเริ่มปลูกครั้งแรกเมื่ออายุ 9ขวบ ในชั้นวิชาเกษตรกรรมของโรงเรียน ซึ่งเธอได้นำเมล็ดพันธุ์จากโรงเรียนกลับบ้านมาด้วย โดยเธอได้ปลูกผักกะหล่ำปลียักษ์ขึ้นที่หลังบ้าน โดยมีน้ำหนักถึง 40ปอนด์ หรือประมาณ 18 กิโลกรัม Katie จึงได้คิดขึ้นว่า เจ้าหัวกะหล่ำอันนี้สามารถเคี่ยวเป็นน้ำซุปแสนอร่อยขึ้นมาได้สักหม้อ เพื่อสร้างความสุขให้แก่ผู้ที่ยากไร้ได้ ครอบครัวของเธอจึงได้นำหัวกำหล่ำปียักษ์นี้ไปที่ครัวของสถานสวัสดิการสาธารณะ เพื่อทำเป็นซุปผักใส่แฮม สำหรับทานกับข้าวสวยร้อนๆ...

15 ภาพวาดบอกเล่าความเป็นไปของโลกปัจจุบัน จากฝีมือศิลปินชาวสวิตเซอร์แลนด์

“ภาพหนึ่งภาพอาจจะแทนความหมายได้นับล้านคำ” หลายๆ คนอาจจะเคยได้ยินประโยคนี้กันมาบ้างแน่ๆ ซึ่งนอกจากการใช้ภาพเพื่อสื่อความหมายต่างๆ แล้ว บางครั้งภาพภาพเดียวกันนั้นก็อาจจะตีความหมายได้แตกต่างกันด้วยก็ได้

เปิดภาพหาดูยากของ New York เมื่อครั้งเป็นสังคมเกษตรกรรม จนพัฒนาเป็นสังคมอุตสาหกรรม

ประเทศสหรัฐอเมริกาถือว่าเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจประเทศหนึ่งในปัจจุบัน อีกทั้งยังมีพื้นที่ที่กว้างขวางเป็นอันดับ 4 ของโลก ซึ่งสามารถแบ่งออกได้ถึง 50 รัฐแต่ใครจะไปคิดล่ะว่า หนึ่งในเมืองที่เจริญรุุ่งเรืองที่สุดของประเทศสหรัฐอเมริกาอย่าง New York City ครั้งหนึ่งจะเคยเป็นเมืองเกษตรกรรมมาก่อน

ปลัดสธ. เข้าเยี่ยมโรงพยาบาลยี่งอ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา

นพ.เจษฎา โชคดำรงสุข ปลัดกระทรวงสาธารณสุข และคณะ กล่าวระหว่างการตรวจเยี่ยมโรงพยาบาลยี่งอ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา จ.นราธิวาส เมื่อเร็วๆ นี้ว่า ในปีงบประมาณ 2561 นี้ กระทรวงสาธารณสุข ได้พัฒนาโรงพยาบาลชุมชนเฉลิมพระเกียรติฯ ทุกแห่งเป็นโรงพยาบาลต้นแบบลดโลกร้อน (Green and Clean Hospital) เพื่อร่วมสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งเร่งรัดให้ทุกแห่งดำเนินงานภายใต้ 1 บวก 4 ยุทธศาสตร์การพัฒนา ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์การสืบสานพระราชดำริ โดยจัดตั้งศูนย์สืบสานการดำเนินงานตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เพื่อน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่พระองค์ทรงมีต่อพสกนิกรชาวไทย และโรงพยาบาลชุมชนเฉลิมพระเกียรติฯ ทุกแห่ง

รวมภาพถ่ายของญี่ปุ่นช่วงยุค 1900 ที่ถูกระบบ AI ย้อมสีราวกับว่าขึ้นไทม์แมชชีนไปถ่าย

เรื่องราวในอดีตถูกถ่ายทอดให้รุ่นลูกหลานให้ได้รับทราบในรูปแบบต่างๆ เช่น สถานที่ทางประวัติศาสตร์ คำบอกเล่า หนังสือ หรือแม้กระทั่งภาพถ่าย ภาพถ่าย ถือว่าเป็นหนึ่งในการเก็บความทรงจำที่ดีเยี่ยมที่สุด ทำให้เราเห็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต จนบางทีไม่ต้องใช้คำอธิบายใดๆ ก็สามารถทราบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตอนบันทึกรูปภาพได้ ภาพถ่ายทางประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่จะเป็นสีขาวดำ ตามเทคโนโลยีของสมัยนั้นซึ่งนั่นก็คือหลักฐานชั้นยอดที่จะคอยบอกให้เราได้ทราบถึงประวัติความเป็นมาของสิ่งต่างๆ ทีมงานนักวิจัยชาวญี่ปุ่นจากมหาวิทยาลัย Waseda นำโดย Dr. Ishikawa ใช้มีความคิดริเริ่มที่จะนำภาพถ่ายทางประวัติศาสตร์เหล่านั้นมาทำการเติมสีสันใหม่ โดยใช้เทคโนโลยีในยุคปัจจุบัน เทคโนโลยีที่ว่านี้ก็คือ AI ช่วยในการแยกแยะสี เพียงแค่นำภาพถ่ายขาวดำสแกนแล้วนำไปให้เจ้า AI ช่วยในการประมวลผล AI จะช่วยเติมสีให้กับรูปภาพเหล่านั้นให้ออกมาในโทนสีที่ใกล้เคียงกับของจริงมากที่สุด เทคโนโลยีนั้นถูกคิดค้นโดย Dr.Watanabe...

เรื่องล่าสุด