ท่องโลกกว้าง

หน้าแรก ศิลปะและวัฒนธรรม ท่องโลกกว้าง

15 ภาพวาดบอกเล่าความเป็นไปของโลกปัจจุบัน จากฝีมือศิลปินชาวสวิตเซอร์แลนด์

“ภาพหนึ่งภาพอาจจะแทนความหมายได้นับล้านคำ” หลายๆ คนอาจจะเคยได้ยินประโยคนี้กันมาบ้างแน่ๆ ซึ่งนอกจากการใช้ภาพเพื่อสื่อความหมายต่างๆ แล้ว บางครั้งภาพภาพเดียวกันนั้นก็อาจจะตีความหมายได้แตกต่างกันด้วยก็ได้

ครั้งแรกกับการจัดแสดงวัตถุทางประวัติศาสตร์อิสลามและศาสดามูฮัมหมัด ( ศ็อลฯ ) ในจังหวัดชายแดนภาคใต้

ถือเป็นนิมิตรหมายอันดีสำหรับพี่น้องชาวมุสลิมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ตลอดจนพี่น้องชาวมุสลิมทั่วประเทศโดยรวม ที่ได้มีโอกาสเที่ยวชมการจัดแสดงนิทรรศการพิพิธภัณฑ์เคลื่อนที่ ศิลปวัตถุทางประวัติศาสตร์อิสลามและศาสดามูฮัมหมัด ( ศ็อลฯ ) ณ. อาคารปาตานีเซนเตอร์ หรืออาคารคณะกรรมการประจำจังหวัดปัตตานีหลังเก่า

ย้อนอดีต…การล่มสลายของราชวงศ์สุลต่านมลายูในอินโดนีเซีย

เราคงลืมไปแล้วฤา? เมื่อปี 1946 บรรดากษัตริย์แห่งเมืองมลายูบนเกาะสุมาตราตะวันออกถูกปลงพระชนม์พร้อมกับเหล่าวงศาคณาญาตินับพันคนอย่างโหดเหี้ยม

ประติมากรรม “มัสยิด” กับอิทธิพลแห่งศิลปกรรมท้องถิ่นและพลวัตรทางสังคม

เมื่อกล่าวถึง “มัสยิด” เรามักจะนึกถึงความงดงามของศาสนสถานของชาวมุสลิมที่เป็นรูปแบบอย่างที่ปรากฏเห็นโดยทั่วไป ไม่ว่ามัสยิดแห่งนั้นจะอยู่ ณ ที่ใด ล้วนจะมีเอกลักษณ์เฉพาะที่บ่งบอกถึงความเป็นอิสลาม แต่โดยทั่วไปแล้วสิ่งที่ขาดมิได้สำหรับรูปโฉมของมัสยิดก็คือ การออกแบบในลักษณะที่มีโดมเป็นเอกลักษณ์เฉพาะสำหรับศาสนสถานของอิสลาม ที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปกรรมอิสลามในอดีต ที่มีโดมเป็นจุดเด่นดูตระหง่าน ซึ่งปรกติจะมีการก่อสร้าง ณ จุดกึ่งกลางของอาคารมัสยิด โดยต่อมากลายเป็นประติมากรรมแห่งอิสลาม ที่ได้กระจายเผยแพร่ออกไปอย่างกว้างขวางไปทั่วทุกหนแห่งที่อิสลามเข้าไปถึง

ภาพถ่ายอดีตขบวนการค้าขายทาสในอเมริกา ที่ให้ค่ามนุษย์ไม่ต่างจากสัตว์ตัวหนึ่ง!

ไฟไม้ น้ำท่วม แผ่นดินไหว ภัยพิบัติทางธรรมชาติ โรคระบาด… สิ่งเหล่านี้บางครั้งก็สร้างความเสียหายน้อยกว่าสิ่งที่มนุษย์กระทำต่อกัน ย้อนกลับในช่วงต้นศตวรรษที่ 19 การเพาะปลูกฝ้ายทางภาคใต้ตอนล่างของสหรัฐฯ มีการเติบโตขึ้นมาก ส่งผลให้ความต้องการแรงงานทาสเพิ่มมากขึ้นด้วย โดยเฉพาะปี 1815 การค้าทาสภายในประเทศกลายเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สำคัญในสหรัฐอเมริกา โดยมีกลุ่มนักธุรกิจผู้มีหน้ามีตาของสังคมได้มารวมตัวกันในจัตุรัสกลางเมือง ด้วยความตื่นเต้นที่จะซื้อมนุษย์เอาไปเป็นแรงงานทาส

ย้อนรอย “มลายูมุสลิม” ในดินแดนพม่า

กว่าสองร้อยปีที่ชาวมลายูตั้งรกรากอยู่ตามแนวชายแดนมาเลเซียและพม่าในเขตตะนาวศรี (Tanintharyi) ในพงศาวดาร “ฮีกายัตมะโรงมหาวังสา” ได้เล่าถึงความเป็นมาประวัติศาสตร์ของกษัตริย์แห่งรัฐเคดาห์(ไทรบุรี) ได้กล่าวว่าพวกเขาเหล่านั้นดั้งเดิมมาจากรัฐดังกล่าว ซึ่งปัจจุบันรัฐเคดาห์กลายเป็นรัฐหนึ่งในประเทศมาเลเซีย

“11 โค้ดคำพูด” ที่นักบินอธิบาย เมื่อผู้โดยสารได้ยิน แล้วอาจจะงงว่าคืออะไร ??

นักบินอธิบายความหมาย “11 โค้ดคำพูด” ที่ผู้โดยสารได้ยิน แล้วอาจจะงงว่าคืออะไร!? ผู้ที่ทำงานเกี่ยวกับด้านการบิน อาจจะคุ้นเคยกับโค้ดคำพูดต่างๆ ที่ถูกนำมาใช้งานระหว่างนักบิน และลูกเรือ แต่กับชาวบ้านอย่างเราๆ พอได้ยินทีไรก็งงเป็นไก่ตาแตกทุกที

ภาพโฆษณาชวนเชื่อจากเกาหลีเหนือ บอกเล่าความโหดร้ายของทหารอเมริกันในช่วง ‘สงครามเกาหลี’

ช่วงนี้ถ้าพูดถึงความขัดแย้งระหว่างประเทศนั้น คงไม่มีประเทศไหนที่จะดุเดือดเท่าอเมริกาและเกาหลีเหนืออีกแล้ว เรียกว่าออกมาจิกกัดโจมตีกันอย่างต่อเนื่องเลยก็ว่าได้ จนหลายคนคิดว่าจะเกิดการสู้รบกันเป็นสงครามครั้งใหม่ได้ทุกเมื่อ…

สนธิสัญญาบอนีย์ระหว่างสยามกับอังกฤษที่เคดาห์ (ไทรบุรี) : การต่อสู้ของสุลต่าน อัฮหมัด ตะญูดดีน ฮาลีม ชาห์ จากการใช้กำลังสู่ทางการทูต

1838 ได้เกิดการจลาจลประท้วงต่อการบริหารการปกครองของสยามในรัฐเคดาห์หรือไทรบุรี การลุกฮือในครั้งนี้ที่นำโดยเต็งกู มูฮัมหมัด ซาอัด หรือหลานของสุลต่าน อัฮหมัด ตะญูดดีน ฮาลิม ชาห์ ในช่วงที่เกิดการลุกหือในครั้งนี้ท่านสุลต่าน อัฮหมัด ตะญูดดีน ท่านได้ทำการลี้ภัยไปยังเมืองมะละกาเพื่อความปลอดภัยจากการติดตามและจากการถูกจับเป็นเชลยศึกของสยาม อย่างไรก็ตามรัฐเคดาห์ถูกยึดครองโดยสยามเมื่อปี1821

รวมภาพถ่ายของญี่ปุ่นช่วงยุค 1900 ที่ถูกระบบ AI ย้อมสีราวกับว่าขึ้นไทม์แมชชีนไปถ่าย

เรื่องราวในอดีตถูกถ่ายทอดให้รุ่นลูกหลานให้ได้รับทราบในรูปแบบต่างๆ เช่น สถานที่ทางประวัติศาสตร์ คำบอกเล่า หนังสือ หรือแม้กระทั่งภาพถ่าย ภาพถ่าย ถือว่าเป็นหนึ่งในการเก็บความทรงจำที่ดีเยี่ยมที่สุด ทำให้เราเห็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต จนบางทีไม่ต้องใช้คำอธิบายใดๆ ก็สามารถทราบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตอนบันทึกรูปภาพได้ ภาพถ่ายทางประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่จะเป็นสีขาวดำ ตามเทคโนโลยีของสมัยนั้นซึ่งนั่นก็คือหลักฐานชั้นยอดที่จะคอยบอกให้เราได้ทราบถึงประวัติความเป็นมาของสิ่งต่างๆ ทีมงานนักวิจัยชาวญี่ปุ่นจากมหาวิทยาลัย Waseda นำโดย Dr. Ishikawa ใช้มีความคิดริเริ่มที่จะนำภาพถ่ายทางประวัติศาสตร์เหล่านั้นมาทำการเติมสีสันใหม่ โดยใช้เทคโนโลยีในยุคปัจจุบัน เทคโนโลยีที่ว่านี้ก็คือ AI ช่วยในการแยกแยะสี เพียงแค่นำภาพถ่ายขาวดำสแกนแล้วนำไปให้เจ้า AI ช่วยในการประมวลผล AI จะช่วยเติมสีให้กับรูปภาพเหล่านั้นให้ออกมาในโทนสีที่ใกล้เคียงกับของจริงมากที่สุด เทคโนโลยีนั้นถูกคิดค้นโดย Dr.Watanabe...

เรื่องล่าสุด