ฝึกช่วยชีวิตจากหุ่นยางพารา ช่วยชีวิตยามวิกฤต

การช่วยชีวิตไม่ใช่หน้าที่ของแพทย์ พยาบาล เท่านั้น แต่ประชาชนก็ควรมีความรู้ในขั้นต้น ตระหนักในบทบาทของตนเอง จึงต้องมีความรู้และทำเป็น จึงจะสามารถช่วยชีวิตผู้อื่นได้ จึงเป็นที่มาของ “การอบรมปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพ CPR นาทีชีวิต : ช่วยเป็นช่วยได้” เมื่อต้นเดือนกรกฏาคมที่ผ่านมา ณ คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (ม.อ.ปัตตานี) รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นประธานเปิดโครงการอบรมปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพ CPR นาทีชีวิต...

รวมภาพถ่ายของญี่ปุ่นช่วงยุค 1900 ที่ถูกระบบ AI ย้อมสีราวกับว่าขึ้นไทม์แมชชีนไปถ่าย

เรื่องราวในอดีตถูกถ่ายทอดให้รุ่นลูกหลานให้ได้รับทราบในรูปแบบต่างๆ เช่น สถานที่ทางประวัติศาสตร์ คำบอกเล่า หนังสือ หรือแม้กระทั่งภาพถ่าย ภาพถ่าย ถือว่าเป็นหนึ่งในการเก็บความทรงจำที่ดีเยี่ยมที่สุด ทำให้เราเห็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต จนบางทีไม่ต้องใช้คำอธิบายใดๆ ก็สามารถทราบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตอนบันทึกรูปภาพได้ ภาพถ่ายทางประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่จะเป็นสีขาวดำ ตามเทคโนโลยีของสมัยนั้นซึ่งนั่นก็คือหลักฐานชั้นยอดที่จะคอยบอกให้เราได้ทราบถึงประวัติความเป็นมาของสิ่งต่างๆ ทีมงานนักวิจัยชาวญี่ปุ่นจากมหาวิทยาลัย Waseda นำโดย Dr. Ishikawa ใช้มีความคิดริเริ่มที่จะนำภาพถ่ายทางประวัติศาสตร์เหล่านั้นมาทำการเติมสีสันใหม่ โดยใช้เทคโนโลยีในยุคปัจจุบัน เทคโนโลยีที่ว่านี้ก็คือ AI ช่วยในการแยกแยะสี เพียงแค่นำภาพถ่ายขาวดำสแกนแล้วนำไปให้เจ้า AI ช่วยในการประมวลผล AI จะช่วยเติมสีให้กับรูปภาพเหล่านั้นให้ออกมาในโทนสีที่ใกล้เคียงกับของจริงมากที่สุด เทคโนโลยีนั้นถูกคิดค้นโดย Dr.Watanabe...

เทคนิคง่ายๆ ในการเพิ่มพลังความจำ

คุณมักจะวางกุญแจผิดที่หรือลืมว่าจอดรถไว้ที่ไหนอยู่บ่อยๆหรือเปล่า? คุณออกจากร้านขายของชำและลืมซื้อของที่จำเป็นหรือชอบลืมว่ากำลังจะพูดอะไรบ้างไหม? การใช้ชีวิตของคุณมีบทบาทสำคัญต่อความรวดเร็วในการคิด ดังนั้นเป็นไปได้ว่าอาการขี้หลงขี้ลืมอาจเป็นผลโดยตรงที่มาจากพฤติกรรมในชีวิตประจำวันของคุณ

ประกาศจุฬาราชมนตรี เพื่อกำหนดวันอีฎิ้ลอัดฮา ตรงกับ วันที่ 1 กันยายน

ประกาศจุฬาราชมนตรี เพื่อกำหนดวันอีดอีฎิ้ลอัดฮา วันที่ ๑ เดือนซุ้ลฮิจยะห์ ฮิจเราะห์ศักราช 1438 ตรงกับวันพุธที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๐ และวันอีฎิ้ลอัดฮา ฮิจเราะห์ศักราช 1438 ตรงกับ วันศุกร์ที่ ๑ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๐

มาทำความรู้จักกับ TED Talks พร้อมสุดยอดคลิปไว้ฝึก ‘การฟัง’ แถมยังได้แนวคิดดีๆ ไปอีก!

สำหรับเหล่าคนเรีรยนภาษา เรียกได้ว่าพลาดไม่ได้เลยล่ะกับ “TED Talks” หรือ “Technology Entertainment and Design” ซึ่งก็คือ เวทีที่เปิดโอกาสให้คนที่ต้องการแชร์ไอเดียที่เป็นประโยชน์หรือสร้างแรงบันดาลใจให้กับผู้อื่น ขึ้นมาพูดภายใน 18 นาที

Hand of Life อาสาช่วยคืนชีพกว่า 200 คนในเมืองปัตตานี

เปิดตัวโครงการ Hand of Life การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน เครือข่ายประชาชนเขตเมือง จังหวัดปัตตานี อบรมอาสาสมัครมากว่า 200 คน พร้อมย้ำจะให้ทุกคนในเขตเมืองปัตตานีรู้จักการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานเพื่อช่วยเหลือผู้คนในสังคม

สะตอไทย ฝ่าวิกฤตเศรษฐกิจไทย นักท่องเที่ยวมาเลย์-สิงคโปร์แห่ซื้อ ที่ตลาดนัดในเบตง ช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์

นักท่องเที่ยวชาวมาเลเซีย และสิงคโปร์ นิยมเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวใน อ.เบตง จ.ยะลา ในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์กันอย่างคึกคัก ต่างแห่ซื้อสะตอ และผลไม้ต่างๆ หลังเริ่มมีผลผลิตออกสู่ตลาด

‘บางปู-อ่าวปัตตานี’ ลอดอุโมงค์โกงกาง บนเส้นทางป่าชายเลนสุดสมบูรณ์

“ตำนานบางปู สืบรู้โกงกาง กระยางงามถิ่น ดินแดนอนุรักษ์”

เปิดภาพหาดูยากของ New York เมื่อครั้งเป็นสังคมเกษตรกรรม จนพัฒนาเป็นสังคมอุตสาหกรรม

ประเทศสหรัฐอเมริกาถือว่าเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจประเทศหนึ่งในปัจจุบัน อีกทั้งยังมีพื้นที่ที่กว้างขวางเป็นอันดับ 4 ของโลก ซึ่งสามารถแบ่งออกได้ถึง 50 รัฐแต่ใครจะไปคิดล่ะว่า หนึ่งในเมืองที่เจริญรุุ่งเรืองที่สุดของประเทศสหรัฐอเมริกาอย่าง New York City ครั้งหนึ่งจะเคยเป็นเมืองเกษตรกรรมมาก่อน

ชายผู้ไร้แขนและไร้ขา แต่เรียนรู้ทุกสิ่งด้วยตัวเอง จนได้เป็น “ช่างภาพมืออาชีพ”

ถ้าเลือกเกิดได้ทุกคนคงอยากจะเกิดมาสมบูรณ์แบบกันอยู่แล้ว คงไม่มีใครอยากจะเกิดมาจน หรือเป็นคนพิการหรอก และเมื่อชีวิตจริงมันไม่ได้เป็นดั่งฝัน ดังนั้นทุกคนก็จะต้องดิ้นรนและสู้ชีวิตกันต่อไป เหมือนดังเช่น Achmad Zulkarnain ชายชาวอินโดนีเซีย ที่ถึงแม้ว่าจะเป็นคนพิการไม่มีแขนขามาตั้งแต่กำเนิด แต่อย่างน้อยเขากลับไม่ย่อท้อต่อโชคชะตา จนสามารถก้าวเข้ามาสู่การเป็นช่างภาพมืออาชีพที่สร้างผลงานเจ๋งๆ เอาไว้มากมาย สำหรับ Achmad หรือชื่อในวงการเรียกว่า DZOEL เขาเริ่มหันมาสนใจการถ่ายภาพในขณะทำงานอยู่ร้านอินเตอร์เน็ตคาเฟ่ที่มีบริการถ่ายภาพ และนั่นจึงทำให้เขาได้ตัดสินใจซื้อกล้อง พร้อมกับพยายามเรียนรู้และพัฒนาในสิ่งที่สนใจอยู่เสมอ จนในที่สุด Achmad ก็เริ่มกลายเป็นที่รู้จักในฐานะช่างภาพและนักแต่งภาพ แถมยังเป็นครูสอนถ่ายภาพอีกด้วย “ผมมีวิธีการทำงานในแบบของผมเอง แม้ผมจะไม่มีนิ้วมือ แต่ก็สามารถปิดเปิดกล้องด้วยปาก และใช้ผิวหนังบริเวณแขนเพื่อกดชัดเตอร์”...

เรื่องล่าสุด